|
|
|
|
|
|
ลักษณะประจำพันธุ์ Big 5 |
|
|
|
|
|
|
ชนิดยีนควบคุมความหวาน |
sh2 |
|
|
|
ผลผลิตทั้งเปลือก (ก.ก./ไร่) |
3,719 |
|
|
|
ผลผลิตปอกเปลือก (ก.ก./ไร่) |
2,553 |
|
|
|
เปอร์เซ็นต์เนื้อ |
มากกว่า 35% |
|
|
|
วันออกไหม |
48-50 |
|
|
|
ความสูงต้น (ซ.ม.) |
195 |
|
|
|
ความสูงฝัก (ซ.ม.) |
100 |
|
|
|
อายุเก็บเกี่ยวหลังออกไหม (วัน) |
|
|
|
|
โรงงานอุตสาหกรรม |
20 |
|
|
|
เก็บเกี่ยวสด |
22 |
|
|
|
อายุเก็บเกี่ยวหลังปลูก (วัน) |
70-75 |
|
|
|
(ฤดูหนาวอาจเก็บเกี่ยวช้าลง 7-10 วัน) |
|
|
|
สีไหม |
ขาว |
|
|
|
คุณภาพการชิม |
ดีมาก |
|
|
|
ความหวาน ดีมาก |
ดีมาก |
|
|
|
ความหนาเปลือกหุ้มเมล็ด |
บาง |
|
|
|
สีเมล็ด |
เหลือง |
|
|
|
จำนวนแถวเมล็ดต่อฝัก |
16-18 |
|
|
|
ความยาวฝัก (ซ.ม.) |
20-22 |
|
|
|
ความกว้างฝัก (ซ.ม.) |
5.5-6 |
|
|
|
ความแข็งแรงของรากและลำต้น |
ดีมาก |
|
|
|
|
|
|
|
ขั้นตอน |
วิธีการปลูกและดูแลรักษา |
การเตรียมดินก่อนปลูก |
ใส่ปุ๋ยคอก อัตรา 1.5-2.0 ตัน/ไร่ แล้วไถดะกลบให้ดินลึกประมาณ 10-12 นิ้ว และตากดินทิ้งไว้ 7-10 วัน |
|
ใส่ปุ๋ยรองพื้น สูตร 15-15-15 หรือ 25-7-7 อัตรา 30-50 กก./ไร่ แล้วไถแปรขวางรอยเดิม |
|
|
|
|
|
การปลูก |
|
|
|
|
การปลูกแบบแถวเดี่ยว |
ระยะห่างระหว่างแถว 75 เซนติเมตร ระยะห่างระหว่างต้น 25-30ซ.ม. ปลูกหลุมละ 1-2 ต้น |
|
จำนวนต้นต่อไร่ประมาณ 7,000-8,500 ต้น จะใช้เมล็ดประมาณ 1.0-1.5 กิโลกรัมต่อไร่ |
|
|
การปลูกแบบแถวคู่ |
มีการยกร่องสูง ระยะห่างระหว่างร่อง 120 ซ.ม. ปลูกเป็นสองแถว ข้างร่องระยะห่าง 30 ซ.ม. |
|
ระยะระหว่างต้น 25-30 ซ.ม.ปลูก 1-2 ต้นต่อหลุม จะมีจำนวนต้นประมาณ 7,000-8,500 ต้นต่อไร่ |
|
และใช้เมล็ดประมาณ 1.0-1.5 กิโลกรัมต่อไร่การให้น้ำจะปล่อยน้ำตามร่องซึ่งเป็นวิธีที่สะดวกดี |
|
|
การใส่ปุ๋ย |
|
การใส่ปุ๋ยแต่งหน้าครั้งที่ 1 |
สูตรปุ๋ยที่แนะนำคือ 46-0-0 (ยูเรีย) อัตรา 25-30 กิโลกรัม ต่อไร่ ใส่เมื่อข้าวโพดมีอายุ 20-25 วัน |
|
หลังปลูก โรยข้างต้นข้าวโพดในขณะดินมีความชื้นหรือให้น้ำตาม หรือพูนโคนกลบปุ๋ยก็จะเป็นการ |
|
กำจัดวัชพืชไปในตัว |
การใส่ปุ๋ยแต่งหน้าครั้งที่ 2 |
เมื่อข้าวโพดมีอายุ 40-45 วันหลังปลูก ถ้าแสดงอาการเหลือง หรือไม่สมบูรณ์ ให้ใส่ปุ๋ยยูเรีย |
|
(46-0-0) อัตรา 25-30 กิโลกรัมต่อไร่ โรยข้างต้นข้าวโพดในขณะดินมีความชื้นหรือให้น้ำตาม |
|
|
การให้น้ำ |
|
|
|
|
|
ระยะที่ข้าวโพดหวานขาดน้ำไม่ได้คือระยะ 7 วันแรกหลังปลูกเป็นระยะที่ข้าวโพดกำลังงอก ควรให้ |
|
น้ำอย่างเพียงพอ แต่ไม่มากจนเกินไป (ลองกำดินแล้วคายออกดินจะไม่จับเป็นก้อน) ถ้าข้าวโพดหวาน |
|
ขาดน้ำช่วงนี้จะทำให้การงอกไม่ดีจำนวนต้นต่อพื้นที่ก็จะน้อยลงจะทำให้ผลผลิตลดลงไปด้วย |
|
ระยะที่ขาดน้ำไม่ได้อีกช่วงหนึ่งคือระยะออกดอก การขาดน้ำในช่วงนี้จะมีผลทำให้การผสมเกสร |
|
ไม่สมบูรณ์ การติดเมล็ดจะไม่ดี ติดเมล็ดไม่เต็มถึงปลายฝัก หรือ ติดเมล็ดเป็นบางส่วน ซึ่งฝักที่ได้ |
|
จะขายได้ราคาต่ำ โดยปกติถ้าเป็นพื้นที่ที่สามารถให้น้ำได้ควรให้น้ำทุก 3-5 วัน ขึ้นอยู่กับสภาพ |
|
ต้นข้าวโพด และสภาพอากาศ แต่ช่วงที่ควรให้น้ำถี่ขึ้นคือช่วงที่ข้าวโพดกำลังงอก และช่วงออกดอก |
|
การเก็บเกี่ยว โดยปกติข้าวโพดหวานจะเก็บเกี่ยวเมื่อมีอายุประมาณ 70-75 วัน หลังปลูก แต่ระยะที่ |
|
เหมาะสมสำหรับการเก็บเกี่ยวที่สุด คือระยะ 20-22 วันหลังข้าวโพดออกไหม 50% (ข้าวโพด 100 ต้น |
|
มีไหม 50 ต้น) ข้าวโพดหวานพันธุ์ Big 5 จะเก็บเกี่ยวที่อายุประมาณ 68-72 วัน หลังปลูก |
|
แต่ถ้าปลูกในช่วงอากาศหนาวเย็นอายุการเก็บเกี่ยวอาจจะยืดออกไปอีก หลังเก็บเกี่ยวแล้ว ควรรีบส่ง |
|
โรงงานหรือจำหน่ายโดยเร็ว เพื่อป้องกันการสูญเสียน้ำหากขาดน้ำจะมีผลต่อเมล็ดและน้ำหนักฝัก |
|
|
|
|
|
โรคและแมลง |
|
|
|
|
หนอนเจาะฝัก |
การระบาดของหนอนเจาะฝักข้าวโพด บางฤดูจะระบาด ทำให้ฝักข้าวโพดที่เก็บเกี่ยวได้มีตำหนิขายไม่ได้ |
|
ราคา ผลผลิตต่อไร่ลดลงสามารถป้องกันการระบาดได้โดยการหมั่นตรวจแปลงอยู่เสมอโดยเฉพาะใน |
|
ระยะเริ่มผสมเกสร ถ้าพบว่าเริ่มมีหนอนเจาะฝักให้ใช้ยา ฟลูเฟนนอกซูรอน หรือ ฟิโบรนิล (ชื่อสามัญ) |
|
ในอัตรา 20 ซี.ซี. ต่อน้ำ 20ลิตร ฉีดพ่นที่ฝัก 1-2 ครั้ง ห่างกัน 7 วัน |
|
|
|
|
|
เพลี้ยไฟ |
ถ้าข้าวโพดหวานออกดอกในช่วงฝนทิ้งช่วง หรือ ในหน้าแล้ง มักจะพบว่ามีเพลี้ยไฟเกาะกินน้ำเลี้ยงที่ไหม |
|
ของฝักข้าวโพดทำให้ไหมฝ่อการผสมเกสรไม่สมบูรณ์ การติดเมล็ดจะไม่ดีตามไปด้วย ป้องกันได้โดย |
|
หมั่นตรวจแปลงในระยะออกดอก ถ้าพบว่ามีเพลี้ยไฟเกาะที่ไหมให้ใช้ยา เอ็นโดซันแฟน (ชื่อสามัญ) |
|
หรือ วีฟอส(ชื่อการค้า) อัตรา 40 ซีซี ต่อน้ำ 20 ลิตร ฉีดพ่นที่ฝัก |
|
|
|
|
|
โรคราน้ำค้าง |
เกิดจากเชื้อรา Peronosclerospora Sorghi สภาพอากาศที่เหมาะสมต่อการระบาดในฤดูฝน |
|
ความชื้นในบรรยากาศสูง และอากาศเย็นในตอนเช้า สารเคมีที่ใช้ป้องกัน คลุกด้วยเมตาเลกซิล |
|
อัตรา 3-5 กรัม ต่อเมล็ดพันธุ์ 1 กิโลกรัม |
|
|
|
โรคราสนิม |
ถ้ามีโรคราสนิมระบาดรุนแรงจะทำให้ฝักข้าวโพดไม่สมบูรณ์ การติดเมล็ดจะไม่เต็มถึงปลายฝัก |
|
ขายไม่ได้ราคา ในพื้นที่ที่มีการระบาดของโรคราสนิมอยู่เป็นประจำควรฉีดพ่นด้วยยา ไดฟีโนโคนาโซล |
|
(ชื่อสามัญ)หรือ สกอร์ (ชื่อการค้า) อัตรา 20 ซีซีต่อน้ำ 20 ลิตรเมื่อเริ่มเป็นโรค
|
|
www.watermelonseedschilli.com
|
|
|
|